เห็นขึ้นสีดำไว้ เรื่องนี้มันเรื่องสายใยรักของบงกชไม่ใช้หรือครับ เห็นออกมาหลายเล่มแล้ว*1, 179,494 *,179,494 Bokura ga Ita vol.14
[News] สนพ.การ์ตูนลิขสิทธิ์ในไทย และความเคลื่อนไหวในวงการ
Re: [News] สนพ.การ์ตูนลิขสิทธิ์ในไทย และความเคลื่อนไหวในวงกา
Re: [News] สนพ.การ์ตูนลิขสิทธิ์ในไทย และความเคลื่อนไหวในวงกา
ูููู^
^
โอ๊ะ ... พลาดไป
(แก้ไขเรียบร้อย)
^
โอ๊ะ ... พลาดไป

Re: [News] สนพ.การ์ตูนลิขสิทธิ์ในไทย และความเคลื่อนไหวในวงกา
ในเคซี ยังใช้ต้นฉบับแค่เล่มสองเองครับ ตามสไตล์แล้ว น่าจะรอจบก่อนค่อยออกละมั้งZeon เขียน:
++ ฺBloody Monday ออกแล้ว แต่อีกเรื่องที่ประกาศลิขสิทธิ์พร้อมกันยังไม่ออกเลย
คือ Taikuseikoukiheishidan by Fujisaki Masato (ประกาศเมื่อ 28/1/2010)
เรื่องนี้จบผมคิดว่าน่าจะเอาเรื่องใหม่ อ.อาซากิ ทำไมในมังงะอัพเดต ให้อ.แกแต่เรื่องนะ
ภาพก็ลายเส้นแกชัดๆ คนวาดกลายเป็น KISARAGI Ryuu แทนซะงั้น -*-
H?agen-Dazs?
Re: [News] สนพ.การ์ตูนลิขสิทธิ์ในไทย และความเคลื่อนไหวในวงกา
ROSE ข่าวอัพเดท (by Admin ROSE)
1. Inuyasha The Final Act - มีกำหนดออกต้นปี 2554 (รวมถึง Haruhi 2009 กับ Lucky Star)
2. DVD Shakugan no Shana II - จะออกเป็น Boxset 2 กล่อง ภายในมีกล่องละ 4 แผ่น รวม 8 แผ่น แผ่นละ 3 ตอน ทั้งหมด 24 ตอนจบ


***********************************
มีเรื่องสงสัยจากรูปนี้ในการ์ตูน Berserk น่ะครับ คือว่าได้ต้นแบบมาจากภาพวาดของใครครับ ??????
http://www.pantip.com/cafe/chalermthai/ ... 45212.html
***********************************
ล่าสุดเว็บนั้นแก้ไขเป็นชื่อ อ.อาซากิ เรียบร้อยแล้วครับ เอาเรื่องนี้มาลงก็ดี
แต่เรื่องนี้ไม่ได้ร่วมมือกับคู่หูเก่าซะแล้ว
1. Inuyasha The Final Act - มีกำหนดออกต้นปี 2554 (รวมถึง Haruhi 2009 กับ Lucky Star)
2. DVD Shakugan no Shana II - จะออกเป็น Boxset 2 กล่อง ภายในมีกล่องละ 4 แผ่น รวม 8 แผ่น แผ่นละ 3 ตอน ทั้งหมด 24 ตอนจบ


***********************************
มีเรื่องสงสัยจากรูปนี้ในการ์ตูน Berserk น่ะครับ คือว่าได้ต้นแบบมาจากภาพวาดของใครครับ ??????
http://www.pantip.com/cafe/chalermthai/ ... 45212.html
***********************************
แบบนี้คงต้องรอให้ KCW ลงจบจริงๆ อีกนานสิเนี่ย กว่าถึงเล่ม 4armadewlo เขียน: ในเคซี ยังใช้ต้นฉบับแค่เล่มสองเองครับ ตามสไตล์แล้ว น่าจะรอจบก่อนค่อยออกละมั้ง
เรื่องนี้จบผมคิดว่าน่าจะเอาเรื่องใหม่ อ.อาซากิ ทำไมในมังงะอัพเดต ให้อ.แกแต่เรื่องนะ
ภาพก็ลายเส้นแกชัดๆ คนวาดกลายเป็น KISARAGI Ryuu แทนซะงั้น -*-

ล่าสุดเว็บนั้นแก้ไขเป็นชื่อ อ.อาซากิ เรียบร้อยแล้วครับ เอาเรื่องนี้มาลงก็ดี
แต่เรื่องนี้ไม่ได้ร่วมมือกับคู่หูเก่าซะแล้ว
Re: [News] สนพ.การ์ตูนลิขสิทธิ์ในไทย และความเคลื่อนไหวในวงกา
มีคนไปยุ N ซื้อ Drrr
บร๊ะ แล่ว ใครก็ได้ไปเสี้ยมสยามหน่อย
หรือพี่บี ให้บงกชช่วยซื้อทีก็ได้นะครับ
บร๊ะ แล่ว ใครก็ได้ไปเสี้ยมสยามหน่อย
หรือพี่บี ให้บงกชช่วยซื้อทีก็ได้นะครับ

H?agen-Dazs?
Re: [News] สนพ.การ์ตูนลิขสิทธิ์ในไทย และความเคลื่อนไหวในวงกา
Drrr! มีคนไปเสนอ NED กับ SIC หมดแล้วล่ะครับ
ส่วนผมเสนอแบบ LN ให้ BKC ไปแล้วล่ะครับ
ส่วนผมเสนอแบบ LN ให้ BKC ไปแล้วล่ะครับ
Re: [News] สนพ.การ์ตูนลิขสิทธิ์ในไทย และความเคลื่อนไหวในวงกา
DVD Shakugan no Shana II ออกเป็นboxหรอเนื้ย อืมมม ขอดูreviewก่อนดีก่าว่าเสียง/ภาพเป็นไงมั่ง
Re: [News] สนพ.การ์ตูนลิขสิทธิ์ในไทย และความเคลื่อนไหวในวงกา
สงสัยราคาหนังสือการ์ตูน ทำไมขึ้นราคาบ่อยจัง
สงสัยกับราคาการ์ตูน
เดี๊ยวนี้ กรีนรีด ก็ขึ้นราคา อีก 10 บาท เข้าใจว่าถนอมสายตาด้วย
ผมไม่รู้ว่า ต้นทุนแพงขึ้น หรือ ต้องการกำไรมากขึ้น หรืออยากจะทำทั้งสองอย่าง
เมื่อก่อน การ์ตูนเล่มละ 20 เป็น 25 ขึ้น 25%
การ์ตูนเล่มละ 25 เป็น 30 ขึ้น 20%
การ์ตูนเล่มละ 30 เป็น 35 ขึ้น 17%
การ์ตูนเล่มละ 35 เป็น 40 ขึ้น 14%
การ์ตูนเล่มละ 40 เป็น 45 ขึ้น 13%
แล้วหาก
การ์ตูนเล่มละ 45 เป็น 50 ขึ้น 11% หรือการ์ตูนเล่มละ 45 เป็น 55 ขึ้น 22%
อัตราเงินเฟ้อยังไม่ขึ้นเท่านี้เลย เมื่อก่อนการ์ตูนหนึ่งเล่ม ราคาพอๆ กับข้าวหนึ่งจาน
เดี๊ยวนี้ การ์ตูนหนึ่งเล่ม แพงกว่าข้าวหนึ่งจาน
เฮ้อ อยากรู้เหตุผล
จากคุณ xiao zheng fei dao
------------------------------------------------------
สมมติ ค่ากระดาษ ค่าไฟ ค่าแปล ค่าลิขสิทธิ์ ค่าจัดส่ง ค่าจ้างพนักงาน เบ็ดเสร็จกว่าจะออกเป็น 1 เล่ม คือ 35 บาท
ตั้งขายเล่มละ 50 ได้กำไรเล่มละ 15
แล้วยอดขายการ์ตูนในไทย เล่มนึงขายได้ซักแสนชุดก็หรูแล้ว
สมมติขายได้แสนชุด จะได้ 5m กำไร 1.5m
กำไรนี้ก็ยังต้องเอาไปหมุนเวียนในระบบต่ออีก
แสน ชุดต่อเล่มนี่เป็นเฉพาะเรื่องดังๆอีก บางเรื่องไม่ดังพิมพ์ออกมาอาจขายได้แค่หลักหมื่น หลักพัน ต้องเอากำไรจากเรื่องอื่นมาถ่วงดุลกัน
จากคุณ : ..... (โลโซแมน)
------------------------------------------------------
แหม...คำถามยอดฮิต
การ์ตูนลิขสิทธิ์เข้ามาตอนผมมัธยม ราคาปีแรก 25-30 บาท
จนถึงตอนนี้ก็ราวๆ 16-18 ปี ราคากลายเป็น 45-55 บาท
อัตรา เงินเฟ้อมักจะบอกว่าปีล่ะ 5% ...ล่อไป 18 ปี คูณดื้อๆยังร่วม 100% (แต่จริงๆ คูณทับซ้อนมันจะมากกว่านั้นอีก) ผมว่ามันก็ไม่เห็นจะต่างนะ แค่มันไม่ได้ขึ้นทุกปี...(เสียเปรียบกว่าผักหรือข้าวที่ขยับราคาทุกปีด้วย ซ้ำ)
และทุกคนก็นิยมมากๆ ที่จะเทียบราคาการ์ตูนต่อข้าวหนึ่งจาน แต่ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตข้าวนะครับไม่สามารถเอาของแบบนั้นมาเทียบได้ เลย
(ข้าวสารตอนมัธยม 5 โล 50กว่าบาท ตอนนี้ล่อไป 5 โลจะ 150+ แล้ว)
จากคุณ : Aha301
------------------------------------------------------
ตลาดปิด,คู่แข่งน้อยราย,ไม่มีการแข่งขันลดต้นทุน,เป็นสินค้าฟุ่มเฟือย ไม่แปลก ว่าราคามันจะแพง ครับ
เหมือน ซีดีเพลงสมัยก่อน ขายแผ่นละ 300 อ้างต้นทุนแพง,ค่าประชาสัมพันธ์แพง,ภาษีแพง ฯลฯ ปัจจุบันกลายเป็น DVD เหลือไม่กี่บาท ทำไมยังลดราคาได้? แล้วข้ออ้างต้นทุนแพง หายไปไหนหมด ครับ?
วิธีบีบให้สินค้าลิขสิทธิ์ ลดราคาลงมาได้ ต้องตีด้วยของเถื่อนเท่านั้น
แต่ ดูๆ คงยาก เพราะ target group ของคนอ่านส่วนใหญ่ ชอบภาษาไทยกันมากกว่า สำนักพิมพ์เขากำไรตรงนี้อยู่ เลยไม่จำเป็นต้องลดราคา เพราะลดไป ยอดขายก็ไม่ได้เพิ่ม หนึ่งคนซื้อหนึ่งเล่มเหมือนเดิม คงไม่มีใครบ้าซื้อเรื่องเดียวทีละ 2-3 เล่ม กำไรหดเปล่าๆ เรื่องอะไรจะตีหม้อข้าวตัวเอง ครับ
จากคุณ : จาน ชาม ช้อน ส้อม
------------------------------------------------------
ตอบ จขกท ก่อน ระบบการขายการ์ตูนในท้องตลาดมีการจำหน่ายผ่านสายส่งและเสียค่าจัดการตรงนั้น อยู่ 40% ฉะนั้นการ์ตุนราคา 45 บาท ต้นทุนจริงๆ ที่สำนักพิมพ์ขายให้กับสายส่งคือ 45 - ค่าจัดจำหน่าย(40% จาก 45 บาท=18 บาท) ฉะนั้นจะเท่ากับราคาจริงที่สำนักพิมพ์ได้รับคือ 28 บาท เท่านั้น
(ไม่ ต้องไปต่อรองนะครับว่าถ้าอย่างนั้นไปซื้อตรงจาก สนพ. จะได้ราคาลด 40% เพราะถ้า สนพ. ยอมขายแบบนั้นเท่ากับหักหน้าสายส่ง...สิ่งที่ตอบกลับมาคือสายส่งจะไม่ "จัดส่งให้" และคราวนี้ก็ไม่ต้องอ่านกันเลยครับการ์ตูน ตรงนี้ถือเป็นจุดตกลง่วมกันของ สนพ. และสายส่ง ซึ่งต้องเข้าใจว่าตรงนี้มีอยู่ในทุกธุรกิจนะครับ สินค้าในห้าง, อาหาร, หรืออื่นๆ ทุกอย่างมีตรงนี้ทั้งสิ้น)
ฉะนั้นการขึ้นราคาการ์ตูน 5 บาทนั้น เท่ากับ สำนักพิมพ์ได้เงินเพิ่ม 3 บาท สายส่งได้เงินเพิ่ม 2 บาทเท่านั้นเอง...ซึ่งตรงนั้นต่ออัตราการขึ้นของเงินเฟ้อถือว่า "ต่ำมากครับ" ราคาการ์ตูนขึ้นราวๆ ทุกๆ 5 ปี เทียบแล้วอัตราการขึ้นอยู่ที่ราวๆ 2% ต่อปี(แถมไม่ได้ขึ้นทุกปีด้วย) คนทำงานคงเข้าใจนะครับอัตราค่าเฉลี่ยเงินเฟ้ออยู่ราวๆ 5% ต่อปี เรียกว่าราคาการ์ตูนขึ้นไม่ทันอัตราเงินเฟ้อเสียด้วยซ้ำ แต่ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา GDP เราขึ้นอยู่ราวๆ 3% เท่านั้นประจวบกับช่วงนี้เป็นช่วงที่ราคาหนังสือต้องปรับขึ้นพอดี ในความรู้สึกของเราก็เลยรู้สึกว่ามัน "แพง" ครับ
บางคนเปรียบเทียบค่าการ์ตูนกับค่าข้าวอันนี้ผมขอยกไปอธิบายในบทความที่ผมเคยเขียนใน Blog เมื่อหลายปีก่อน คคห. หน้านะครับ
มี คนบอกว่าการกดราคาสินค้าลิขสิทธิ์ให้ได้ต้องเอาของเถื่อนเข้าสู้ก็จริงในแง่ ผลที่ตามมา แต่จะลำบากในแง่ระยะยาวครับ จริงๆ แล้วต้องสร้างตลาดลิขสิทธิ์ให้เกิดจะเป็นเรื่องที่ถูกต้อง การสร้างตลาดลิขสิทธิ์ในประเทศจะส่งผลในแง่มหาภาคครับ นั่นคือมี "ผู้ผลิต Content" ในประเทศมากขึ้น เกิดการแข่งขัน เกิดตลาด มากขึ้นเม็ดเงินในตลาดสูงขึ้น ส่งผลให้เกิดการจ้างงานมากขึ้นเงินเดือนสูงขึ้น และสิ่งที่ตามมาคือ "เรามีรายได้มากขึ้น" ในขณะที่ "สินค้าลิขสิทธิ์จะถูกลง" ซึ่งทุกประเทศที่พัฒนาแล้วเขาเข้าใจกลไกนี้ดีครับ
ถ้าเปรียบเทียบแบบ แนวคิดสังคมลิขสิทธิ์ คือ "พัฒนาตัวเองสร้างรายได้ให้สูงขึ้นเพื่อซื้อสิ่งของ" รูปแบบนี้สังคมจะพัฒนาขึ้นครับเพราะทุกคนตั้งเป้าที่จะ "พัฒนาตัวเอง"
แต่การใช้ของเถื่อนเข้าสู้นั้นเท่ากับ "เรายากจนเลยบีบให้สินค้าลดราคาลงมาให้เราซื้อได้"
มัก จะมีคนกล่าวว่า คนไทยไม่แพ้ชาติใดในโลก ในเชิงตัวบุคคลนั้นถูกต้องเลยครับ แต่ในเชิงมหาภาคถือว่าห่างไกล ญี่ปุ่น, อเมริกา หรือประเทศที่พัฒนาแล้วนั้นเขาส่งออกผลิตภัณฑ์ที่เรียกว่า "ความคิด" ซึ่งมันจะไม่มีวันน้อยลงแถมยังจะเพิ่มพูนไปเรื่อยเพราะสร้างขึ้นใหม่ได้ทุก วัน แต่ประเทศที่ยังไม่พัฒนารวมถึงประเทศไทยส่งออก "ทรัพยากรในประเทศ" ซึ่งก็เหมือนกับการขายของเก่ากินไปเรื่อยๆ วันหนึ่งมันก็จะหมดครับ และสังคมลิขสิทธิ์คือการสร้างให้ผู้คนเข้าไปอยู่ในสังคมที่ใช้ความคิดสร้าง สรรผลิตภัณฑ์ขึ้นมานั่นเอง
ปล.ก็แลกเปลี่ยนความคิดกันนะครับ ทิ้งท้ายไว้นิดหนึ่งการ์ตุนญี่ปุ่นเล่มนึงกำไรไม่ถึง 10 บาทหรอกครับ และสุดยอดการ์ตูนอย่างวันพีซก็มียอดพิมพ์ยอดขายอยู่แค่หลักหมื่นเล่มเท่า นั้น ส่วนการ์ตูนที่ไม่ดังหรือการ์ตูนทั่วไปมียอดพิมพ์ยอดขายอยู่ที่ 5000-10000 เท่าน้นเอง
จากคุณ : Aha301
------------------------------------------------------
ราคาการ์ตูน ดรรชนีข้าว...ดรรชนีแมคโดนัลด์
>>> บทความที่ผมเขียนไว้ใน Blog เมื่อหลายปีก่อน ราคาบางอย่างอาจเปลี่ยนแปลงไปแล้ว แต่เปรียบเทียบแค่พอเห็นภาพนะครับ
วันก่อนมีคนถามเรื่องราคาหนังสือบ้านเราว่าทำไมการ์ตูนมันแพงหนักหนา อืม...ผมมองดูราคาการ์ตูนเล่มหนึ่ง 45 บาทคิดคำนวณต้นทุนในใจเสร็จสรรพแล้วคิดในใจว่า "คนทำการ์ตูนลิขสิทธิ์นี่เก่งเนอะที่ทำราคาที่เท่านี้ได้" ผมถามเขาว่าการ์ตูนถ้าเทียบกับหนังสือหรือความบันเทิงประเภทอื่นๆ นี่ถูกออก "เขาบอกว่าดูซิพี่ราคาการ์ตูนบ้านเราเนี่ยเกือบเท่าราคาข้าวตั้ง 2 จาน อย่างในประเทศอื่นๆ เทียบกับค่าครองชีพเขาแล้วอยู่ที่ราคาข้าวหนึ่งจานเท่านั้นเองนะ การ์ตูนบ้านเราแพงจะตาย?"(เป็นข้อเปรียบเทียบประจำที่ได้ยินเวลาเทียบเรื่อง นี้) ผมอึ้งไปพักหนึ่งคิดในใจต่อก็จริงแฮะว่าการ์ตูนบ้านเราเท่าข้าว 2(1.5 ละกันนะ)จานจริงๆ ด้วย ในญี่ปุ่นอยู่ที่ ราวๆ 400 เยนก็ราวๆ บะหมี่หนึ่งชาม แพงกว่าแม็คในญี่ปุ่นนิดหน่อย (บิ๊กแมคญี่ปุ่นราวๆ 300 เยน) อืมการ์ตูนในบ้านเราคงจะแพงจริงๆ แหละนะ
ไม่ช่ายยยยยยเฟร้ยยยยยยยยยย!!!!
อืม อ่า นะ...ใจเย็นลงนิดนึง ต้องบอกก่อนนะครับว่าการเปรียบเทียบแบบนี้เป็นการปิดตาข้างเดียวพูด ขอย้ำว่าประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตอาหารนะครับ เราไม่สามารถนำราคาอาหารในประเทศเราไปเปรียบเทียบกับราคาสินค้าอื่นๆ ได้ เพราะอาหารในไทยนั้น ถูกมากกกกกกกก...หากเราอยากเปรียบสินค้าใดๆ ในบ้านเราว่าถูกหรือแพงเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ขอให้ใช้สินค้าที่มีค่ามาตรฐานเหมือนกันด้วย ในญี่ปุ่นอาหารถือเป็นสินค้าที่มีราคาแพงเอาการ หรือจะเรียกว่ากลางๆ ก็ได้สำหรับเขา แต่ในบ้านเราอาหารถือว่าถูก ทั่วโลกต่างพูดว่าเมืองไทยเป็นสวรรค์เพราะของมันถูกโดยเฉพาะของกิน
เช่นหากจะเปรียบราคาการ์ตูนบ้านเราต้องยกไปเทียบกับสินค้านำเข้าที่ทั้งเรา และญี่ปุ่นนำเข้าโดยมีอัตราการเสียภาษีที่ใกล้เคียงกัน และในกรณีนี้ผมขอแนะนำ Mc Donald ผมไปมาหลายประเทศราคาแมคนั้นส่วนใหญ่ต่างกันไม่เกิน 20% ( จริงๆ เอาชัวร์ต้องเหมือนกันเลยแต่อัตราแมคก็ถือว่าใช้วัดได้คร่าวๆ )บิ๊กแมคบ้านเรานั้นอยู่ที่ 62 บาท การ์ตูนบ้านเราอยู่ที่ 45 บาท คิดเป็น 3/4 จากราคาแม็ค ในญี่ปุ่นการ์ตูนทั่วไปอยู่ที่ 390 เยน บิ๊กแมคที่ราคา 300 เยน(90 บาท) ราคาการ์ตูนอยู่ที่ 4/3....มองเห็นอะไรลางๆ ใหมครับ...
ในไต้หวันการ์ตูนอยู่ที่ 100-120 เหรียญ บื๊กแมคราวๆ 80-90(90บาท) เหรียญ คิดเป็น 4/3 เช่นกัน ในอเมริการาคาการ์ตูนอยู่ที่ราวๆ 10 US บิ๊คแม๊คอยู่ที่ 3 เหรียญ(95 บาท)!! คิดเป็น 10/3 เราจะเห็นได้ว่าราคาแม๊คทั่วโลกนั้น ใกล้กันแต่ราคาหนังสือต่างกันมากมายแต่ข้อสรุปหนึ่งคือการ์ตูนญี่ปุ่นในบ้าน เราถูกมากเมื่อเทียบกับต่างประเทศ แม้แต่เทียบกับประเทศผู้ผลิตอย่างญี่ปุ่นซึ่ง "หนังสือ" ในประเทศนี้เมื่อเทียบกับค่าครองชีพในบ้านเขาถือว่าถูก บ้านเราดันถูกกว่าอีกร่วม 40% (แม้แต่แมคในบ้านเราก็ยังถูกเพราะมันเป็นอาหาร ต่อให้ขายเท่าแมคก็ควรถือว่าถูกตาม "กลไก" ค่าครองชีพที่แท้จริงแต่การ์ตูนเรายังถูกกว่านั้นอีก) แถมยอดพิมพ์ในบ้านเราต่ำกว่าเขาหลัก 10 เท่า ตลกดีที่นิยายบ้านเรากับประเทศในเอเชียนี่ราคามัน "พอๆ กัน" แต่เราเคยชินกับว่าการ์ตูนต้องราคาต่ำเตี้ยเรี่ยดินสุดๆ ( เชื่อใหมว่าถ้าราคามันสูงมาตั้งแต่ต้นคนจะไม่บ่นกันมากขนาดนี้ ยอดพิมพ์ก็ไม่ตกลงเท่าไหร่ด้วย )ของบางอย่างมันไม่เกี่ยวกับราคา ตั๋วหนังในบ้านเราแพงขึ้น 4 เท่าใน 20 ปี แต่ยอดคนดูหนังเพิ่มขึ้นมากมาย ในขณะที่การ์ตูนบ้านเราราคาขึ้น 4 เท่าใน 20 ปี ยอดพิมพ์มีแต่ต่ำลงๆๆๆๆ อะไรหนอเป็นปัจจัย?
อะไรเป็นปัจจัยก็ช่างผมขี้เกียจถกเรื่องนี้ แต่มันเป็นข้อจำกัดที่สั่งสมกันมานานเหมือนปัญหางูกินหางไปแล้ว คนอยากได้งานการ์ตูนไทยดีๆ แต่เทียบค่าแรงกระจอกกว่าอาชีพอื่นๆ ถ้าค่าแรงแพงๆ ขายถูกก็เจ๊งซิ แต่ดันต้องไปเทียบกับ "การ์ตูนญี่ปุ่นในไทย" ที่ถูกมากและคุณภาพค่อนข้างดี....
ถ้าเอาราคาปกการ์ตูนญี่ปุ่นเป็นที่ตั้งก็ไม่ต้องคิดอะไรต่อแล้วครับ สนพ.การ์ตูนไทยรู้ดีว่ามันยากกกกขนาดไหน กลายเป็นว่าการ์ตูนไทยที่ดีซักเรื่องต้องอาศัยข้อจำกัดชนิดมหากาฬที่จะไป "ลดต้นทุน" ด้านอื่นๆแทนที่จะมาวัดกันที่งาน
ขออ้างถึงเคสคลาสสิคอันหนึ่งในบ้านเรา ที่ไม่อยากออกนามมากนัก บริษัทอนิเมชั่นที่ญี่ปุ่นไม่อนุญาตให้เราทำ DVD การ์ตูนเร็วเกินไปต้องรอไประดับหนึ่ง(พักใหญ่เลย..ทำไห้บางทีบางเรื่องต้อง ทำตอนที่กระแสเอาท์ไปแล้ว) ด้วยว่ามีคนญี่ปุ่นบินมาหิ้วแผ่นอนิเมชั่น DVD ไทยกลับไปขายในญี่ปุ่นด้วยว่าคุณภาพดีราคาถูกบรรลัย!! ตลกดีที่แฟนอนิเมญี่ปุ่นที่เป็นชาวไทยยังด่าบริษัทในไทยอยู่วันเว้นวัน เรื่องนี้อยู่เลย ผมไม่สามารถบอกชื่อบริษัทออกไปได้ด้วยเป็นเรื่องวงในแต่ก็แบบนี้แหละครับ ของไทยคนไทยดูถูกกันเอง แม้แต่ของที่อิมพอร์ตเข้ามามองราคาตามความเคยชินและความพอใจแต่ไม่ได้มองตาม ราคากลไกตลาด
จากคุณ : Aha301
------------------------------------------------------
เรื่องดัชนี BigMc เห็นทาง สนพ.เอาไว้ใช้แก้ต่างกันบ่อยๆ ครับ
แต่ผมอยากตั้งข้อสังเกตว่า
BigMc จัดเป็นอาหาร Low Grade ในต่างประเทศมากๆ มันจึงมีราคาถูก และเกรดมันเทียบเท่ากับอาหารขยะ (Junk Food) เท่านั้น ไม่มีการขายในร้านอาหารหรูๆ และบนสายการบินเอง เท่าที่ทราบ ก็ไม่เอามาเสิร์ฟกัน เพราะถือว่าดูถูกลูกค้า เว้นแต่จะทำ Surprise ก็อีกเรื่อง
พอมาประเทศไทย กลับแพงหูฉี่ เทียบกับอาหารกลางวันบ้านเรา 90 บาทนี่กินได้สามจานเลยนะครับ(ไม่ก็กินสเต๊กห้าง ได้ 1 จาน กับเครื่องดื่ม 1 แก้ว) แถมอาหารมีคุณค่าครบ 5 หมู่อีกต่างหาก เอา BigMc มาเปรียบเทียบ ผมว่ามันเหมือนหลอกต้มกันไปหน่อย
เคยดูเทศกาลอาหารไทยในเยอรมัน มาม่าผัดจานละ 300 กว่าบาท ขนาดแม้ค้าบอกว่านี่ราคาลดพิเศษเฉพาะช่วงเทศกาลเท่านั้น(ของจริงน่าจะ 400 กว่า) มันตลกไหมครับ ถ้าจะบอกว่า มาม่าผัดต่างประเทศ ซื้อการ์ตูนได้หลายเล่ม แต่มาม่าผัดเมืองไทย ซื้อการ์ตูนเล่มเดียวยังไม่ได้
เรื่อง เอาอาหารมาเป็นดัชนี้วัด มันต้องดูด้วย ครับว่าสอดคล้องกับค่าครองชีพของประเทศนั้นหรือไม่ ส้มตำไทยอยู่เมืองไทยจานละ 20 ขายเกร่อริมถนน ไปอยู่อเมริการจานละ 100-300 กว่า แถมอยู่ภัตตาคาร มีแอร์เย็นๆ, มีนางรำฟ้อนเล็บ,มวยไทยต่อยโชว์อีก แล้วมันจะเอามาเทียบกันได้ไง?
จากคุณ : จาน ชาม ช้อน ส้อม
------------------------------------------------------
1.เรื่องค่ากระดาษ ขอแสดงความเสียใจด้วย ค่ากระดาษตอนนี้ ขึ้เนมาแล้วครับผม ไม่นานจากนี้ (ไม่เกิน 6 เดือน) มีการขยับราคาแน่ๆ ครับ กระทู้นี้เป็นกระทู้ "ดัก ทางได้ถูกต้อง กลายๆ แล้วครับ
2.ดัชนี Mc ใช้ได้ เฉพาะในทศวรรษ 1990s เท่านั้น หลีงจากนั้น ทฤษฎีดู "ไม่เข้าท่า" แล้วครับ ใช้ ทฤษฎี "สตาร์บัคส์" ดีกว่า แก้วเดียว ราคาใกล้เคียงกันทั่วโลก
จากคุณ : c5;q ouh
เขียนเมื่อ : 31 ส.ค. 53 20:56:50 A:58.11.15.179 X: TicketID:282424
------------------------------------------------------
น่าสนใจครับ พอดีผมไม่ได้เขียนจากการไปอ่านมาแต่เขียนจากประสบการณ์ ครั้งหน้าผมต้องลองตั้งข้อสังเกตจากสตาร์บัคดูบ้าง
อืม...คุณ จาน ชาม ช้อน ส้อม ครับผมไม่ได้เอาดัชนี MC มาตั้งเพื่อเทียบค่าครองชีพนะครับ บ้านเราน่ะค่าครองชีพ "ต่ำ" แน่นอนอยู่แล้ว แต่สำหรับเราที่เป็นประเทศผู้ผลิตอาหารจึงสามารถทำดรรชนีที่เกี่ยวกับอาหาร ได้ "ถูกกว่าประเทศอื่นๆ" ไม่ได้เกี่ยวกับ เกรดของอาหารครับ อย่างที่ยกตัวอย่างไปว่าต่อให้เป็น MC ในบ้านเราก็ยังทำราคาได้ถูกหรือใกล้เคียงกับค่าครองชีพมาตรฐานประเทศนั้นๆ
ใน ไต้หวันค่าเฉลี่ยค่าครองชีพไม่แตกต่างกับบ้านเรามากนัก อยู่ราวๆ 1.5-2 เท่านั้น(ขอเทียบกับกรุงเทพฯ นะครับไม่งั้นรับรองว่ายาว) แต่ราคาการ์ตูนญี่ปุ่นห่างกันราวๆ 3 เท่าครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในใต้หวันการ์ตูนบูมมากๆ ถึงขนาดคาโดคาว่าไปเปิดสาขาที่นั่นโดยตรง) ยอดขายสูงและน่าจะเอื้อต่อการทำราคาได้ถูกกว่าประเทศเราแต่ก็ยังแพงกว่าของ เราที่เทียบตามค่าครองชีพอยู่ดี
(แต่ตลกดีครับ นิยายหรือหนังสือในหมวดอื่นๆ เช่นนิยายหรือพ็อคเก็ตบุ๊คราคาขายในไทยกับไต้หวัน มาเลเซีย นั้นใกล้เคียงกันมาก ซึ่งในประเทศดังกล่าวที่ผมยกตัวอย่างมา ราคาการ์ตูนกับพอคเก็ตบุ๊คนั้นใกล้เคียงกันครับ แต่บ้านเราต่างกันราวๆ 3 เท่า ทั้งๆ ที่ค่าลิขสิทธิ์ของนิยายและการ์ตูนนั้นก็ใกล้เคียงกัน)
จากคุณ : Aha301
------------------------------------------------------
http://www.pantip.com/cafe/chalermthai/ ... 33486.html
สงสัยกับราคาการ์ตูน
เดี๊ยวนี้ กรีนรีด ก็ขึ้นราคา อีก 10 บาท เข้าใจว่าถนอมสายตาด้วย
ผมไม่รู้ว่า ต้นทุนแพงขึ้น หรือ ต้องการกำไรมากขึ้น หรืออยากจะทำทั้งสองอย่าง
เมื่อก่อน การ์ตูนเล่มละ 20 เป็น 25 ขึ้น 25%
การ์ตูนเล่มละ 25 เป็น 30 ขึ้น 20%
การ์ตูนเล่มละ 30 เป็น 35 ขึ้น 17%
การ์ตูนเล่มละ 35 เป็น 40 ขึ้น 14%
การ์ตูนเล่มละ 40 เป็น 45 ขึ้น 13%
แล้วหาก
การ์ตูนเล่มละ 45 เป็น 50 ขึ้น 11% หรือการ์ตูนเล่มละ 45 เป็น 55 ขึ้น 22%
อัตราเงินเฟ้อยังไม่ขึ้นเท่านี้เลย เมื่อก่อนการ์ตูนหนึ่งเล่ม ราคาพอๆ กับข้าวหนึ่งจาน
เดี๊ยวนี้ การ์ตูนหนึ่งเล่ม แพงกว่าข้าวหนึ่งจาน
เฮ้อ อยากรู้เหตุผล
จากคุณ xiao zheng fei dao
------------------------------------------------------
สมมติ ค่ากระดาษ ค่าไฟ ค่าแปล ค่าลิขสิทธิ์ ค่าจัดส่ง ค่าจ้างพนักงาน เบ็ดเสร็จกว่าจะออกเป็น 1 เล่ม คือ 35 บาท
ตั้งขายเล่มละ 50 ได้กำไรเล่มละ 15
แล้วยอดขายการ์ตูนในไทย เล่มนึงขายได้ซักแสนชุดก็หรูแล้ว
สมมติขายได้แสนชุด จะได้ 5m กำไร 1.5m
กำไรนี้ก็ยังต้องเอาไปหมุนเวียนในระบบต่ออีก
แสน ชุดต่อเล่มนี่เป็นเฉพาะเรื่องดังๆอีก บางเรื่องไม่ดังพิมพ์ออกมาอาจขายได้แค่หลักหมื่น หลักพัน ต้องเอากำไรจากเรื่องอื่นมาถ่วงดุลกัน
จากคุณ : ..... (โลโซแมน)
------------------------------------------------------
แหม...คำถามยอดฮิต
การ์ตูนลิขสิทธิ์เข้ามาตอนผมมัธยม ราคาปีแรก 25-30 บาท
จนถึงตอนนี้ก็ราวๆ 16-18 ปี ราคากลายเป็น 45-55 บาท
อัตรา เงินเฟ้อมักจะบอกว่าปีล่ะ 5% ...ล่อไป 18 ปี คูณดื้อๆยังร่วม 100% (แต่จริงๆ คูณทับซ้อนมันจะมากกว่านั้นอีก) ผมว่ามันก็ไม่เห็นจะต่างนะ แค่มันไม่ได้ขึ้นทุกปี...(เสียเปรียบกว่าผักหรือข้าวที่ขยับราคาทุกปีด้วย ซ้ำ)
และทุกคนก็นิยมมากๆ ที่จะเทียบราคาการ์ตูนต่อข้าวหนึ่งจาน แต่ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตข้าวนะครับไม่สามารถเอาของแบบนั้นมาเทียบได้ เลย
(ข้าวสารตอนมัธยม 5 โล 50กว่าบาท ตอนนี้ล่อไป 5 โลจะ 150+ แล้ว)
จากคุณ : Aha301
------------------------------------------------------
ตลาดปิด,คู่แข่งน้อยราย,ไม่มีการแข่งขันลดต้นทุน,เป็นสินค้าฟุ่มเฟือย ไม่แปลก ว่าราคามันจะแพง ครับ
เหมือน ซีดีเพลงสมัยก่อน ขายแผ่นละ 300 อ้างต้นทุนแพง,ค่าประชาสัมพันธ์แพง,ภาษีแพง ฯลฯ ปัจจุบันกลายเป็น DVD เหลือไม่กี่บาท ทำไมยังลดราคาได้? แล้วข้ออ้างต้นทุนแพง หายไปไหนหมด ครับ?
วิธีบีบให้สินค้าลิขสิทธิ์ ลดราคาลงมาได้ ต้องตีด้วยของเถื่อนเท่านั้น
แต่ ดูๆ คงยาก เพราะ target group ของคนอ่านส่วนใหญ่ ชอบภาษาไทยกันมากกว่า สำนักพิมพ์เขากำไรตรงนี้อยู่ เลยไม่จำเป็นต้องลดราคา เพราะลดไป ยอดขายก็ไม่ได้เพิ่ม หนึ่งคนซื้อหนึ่งเล่มเหมือนเดิม คงไม่มีใครบ้าซื้อเรื่องเดียวทีละ 2-3 เล่ม กำไรหดเปล่าๆ เรื่องอะไรจะตีหม้อข้าวตัวเอง ครับ
จากคุณ : จาน ชาม ช้อน ส้อม
------------------------------------------------------
ตอบ จขกท ก่อน ระบบการขายการ์ตูนในท้องตลาดมีการจำหน่ายผ่านสายส่งและเสียค่าจัดการตรงนั้น อยู่ 40% ฉะนั้นการ์ตุนราคา 45 บาท ต้นทุนจริงๆ ที่สำนักพิมพ์ขายให้กับสายส่งคือ 45 - ค่าจัดจำหน่าย(40% จาก 45 บาท=18 บาท) ฉะนั้นจะเท่ากับราคาจริงที่สำนักพิมพ์ได้รับคือ 28 บาท เท่านั้น
(ไม่ ต้องไปต่อรองนะครับว่าถ้าอย่างนั้นไปซื้อตรงจาก สนพ. จะได้ราคาลด 40% เพราะถ้า สนพ. ยอมขายแบบนั้นเท่ากับหักหน้าสายส่ง...สิ่งที่ตอบกลับมาคือสายส่งจะไม่ "จัดส่งให้" และคราวนี้ก็ไม่ต้องอ่านกันเลยครับการ์ตูน ตรงนี้ถือเป็นจุดตกลง่วมกันของ สนพ. และสายส่ง ซึ่งต้องเข้าใจว่าตรงนี้มีอยู่ในทุกธุรกิจนะครับ สินค้าในห้าง, อาหาร, หรืออื่นๆ ทุกอย่างมีตรงนี้ทั้งสิ้น)
ฉะนั้นการขึ้นราคาการ์ตูน 5 บาทนั้น เท่ากับ สำนักพิมพ์ได้เงินเพิ่ม 3 บาท สายส่งได้เงินเพิ่ม 2 บาทเท่านั้นเอง...ซึ่งตรงนั้นต่ออัตราการขึ้นของเงินเฟ้อถือว่า "ต่ำมากครับ" ราคาการ์ตูนขึ้นราวๆ ทุกๆ 5 ปี เทียบแล้วอัตราการขึ้นอยู่ที่ราวๆ 2% ต่อปี(แถมไม่ได้ขึ้นทุกปีด้วย) คนทำงานคงเข้าใจนะครับอัตราค่าเฉลี่ยเงินเฟ้ออยู่ราวๆ 5% ต่อปี เรียกว่าราคาการ์ตูนขึ้นไม่ทันอัตราเงินเฟ้อเสียด้วยซ้ำ แต่ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา GDP เราขึ้นอยู่ราวๆ 3% เท่านั้นประจวบกับช่วงนี้เป็นช่วงที่ราคาหนังสือต้องปรับขึ้นพอดี ในความรู้สึกของเราก็เลยรู้สึกว่ามัน "แพง" ครับ
บางคนเปรียบเทียบค่าการ์ตูนกับค่าข้าวอันนี้ผมขอยกไปอธิบายในบทความที่ผมเคยเขียนใน Blog เมื่อหลายปีก่อน คคห. หน้านะครับ
มี คนบอกว่าการกดราคาสินค้าลิขสิทธิ์ให้ได้ต้องเอาของเถื่อนเข้าสู้ก็จริงในแง่ ผลที่ตามมา แต่จะลำบากในแง่ระยะยาวครับ จริงๆ แล้วต้องสร้างตลาดลิขสิทธิ์ให้เกิดจะเป็นเรื่องที่ถูกต้อง การสร้างตลาดลิขสิทธิ์ในประเทศจะส่งผลในแง่มหาภาคครับ นั่นคือมี "ผู้ผลิต Content" ในประเทศมากขึ้น เกิดการแข่งขัน เกิดตลาด มากขึ้นเม็ดเงินในตลาดสูงขึ้น ส่งผลให้เกิดการจ้างงานมากขึ้นเงินเดือนสูงขึ้น และสิ่งที่ตามมาคือ "เรามีรายได้มากขึ้น" ในขณะที่ "สินค้าลิขสิทธิ์จะถูกลง" ซึ่งทุกประเทศที่พัฒนาแล้วเขาเข้าใจกลไกนี้ดีครับ
ถ้าเปรียบเทียบแบบ แนวคิดสังคมลิขสิทธิ์ คือ "พัฒนาตัวเองสร้างรายได้ให้สูงขึ้นเพื่อซื้อสิ่งของ" รูปแบบนี้สังคมจะพัฒนาขึ้นครับเพราะทุกคนตั้งเป้าที่จะ "พัฒนาตัวเอง"
แต่การใช้ของเถื่อนเข้าสู้นั้นเท่ากับ "เรายากจนเลยบีบให้สินค้าลดราคาลงมาให้เราซื้อได้"
มัก จะมีคนกล่าวว่า คนไทยไม่แพ้ชาติใดในโลก ในเชิงตัวบุคคลนั้นถูกต้องเลยครับ แต่ในเชิงมหาภาคถือว่าห่างไกล ญี่ปุ่น, อเมริกา หรือประเทศที่พัฒนาแล้วนั้นเขาส่งออกผลิตภัณฑ์ที่เรียกว่า "ความคิด" ซึ่งมันจะไม่มีวันน้อยลงแถมยังจะเพิ่มพูนไปเรื่อยเพราะสร้างขึ้นใหม่ได้ทุก วัน แต่ประเทศที่ยังไม่พัฒนารวมถึงประเทศไทยส่งออก "ทรัพยากรในประเทศ" ซึ่งก็เหมือนกับการขายของเก่ากินไปเรื่อยๆ วันหนึ่งมันก็จะหมดครับ และสังคมลิขสิทธิ์คือการสร้างให้ผู้คนเข้าไปอยู่ในสังคมที่ใช้ความคิดสร้าง สรรผลิตภัณฑ์ขึ้นมานั่นเอง
ปล.ก็แลกเปลี่ยนความคิดกันนะครับ ทิ้งท้ายไว้นิดหนึ่งการ์ตุนญี่ปุ่นเล่มนึงกำไรไม่ถึง 10 บาทหรอกครับ และสุดยอดการ์ตูนอย่างวันพีซก็มียอดพิมพ์ยอดขายอยู่แค่หลักหมื่นเล่มเท่า นั้น ส่วนการ์ตูนที่ไม่ดังหรือการ์ตูนทั่วไปมียอดพิมพ์ยอดขายอยู่ที่ 5000-10000 เท่าน้นเอง
จากคุณ : Aha301
------------------------------------------------------
ราคาการ์ตูน ดรรชนีข้าว...ดรรชนีแมคโดนัลด์
>>> บทความที่ผมเขียนไว้ใน Blog เมื่อหลายปีก่อน ราคาบางอย่างอาจเปลี่ยนแปลงไปแล้ว แต่เปรียบเทียบแค่พอเห็นภาพนะครับ
วันก่อนมีคนถามเรื่องราคาหนังสือบ้านเราว่าทำไมการ์ตูนมันแพงหนักหนา อืม...ผมมองดูราคาการ์ตูนเล่มหนึ่ง 45 บาทคิดคำนวณต้นทุนในใจเสร็จสรรพแล้วคิดในใจว่า "คนทำการ์ตูนลิขสิทธิ์นี่เก่งเนอะที่ทำราคาที่เท่านี้ได้" ผมถามเขาว่าการ์ตูนถ้าเทียบกับหนังสือหรือความบันเทิงประเภทอื่นๆ นี่ถูกออก "เขาบอกว่าดูซิพี่ราคาการ์ตูนบ้านเราเนี่ยเกือบเท่าราคาข้าวตั้ง 2 จาน อย่างในประเทศอื่นๆ เทียบกับค่าครองชีพเขาแล้วอยู่ที่ราคาข้าวหนึ่งจานเท่านั้นเองนะ การ์ตูนบ้านเราแพงจะตาย?"(เป็นข้อเปรียบเทียบประจำที่ได้ยินเวลาเทียบเรื่อง นี้) ผมอึ้งไปพักหนึ่งคิดในใจต่อก็จริงแฮะว่าการ์ตูนบ้านเราเท่าข้าว 2(1.5 ละกันนะ)จานจริงๆ ด้วย ในญี่ปุ่นอยู่ที่ ราวๆ 400 เยนก็ราวๆ บะหมี่หนึ่งชาม แพงกว่าแม็คในญี่ปุ่นนิดหน่อย (บิ๊กแมคญี่ปุ่นราวๆ 300 เยน) อืมการ์ตูนในบ้านเราคงจะแพงจริงๆ แหละนะ
ไม่ช่ายยยยยยเฟร้ยยยยยยยยยย!!!!
อืม อ่า นะ...ใจเย็นลงนิดนึง ต้องบอกก่อนนะครับว่าการเปรียบเทียบแบบนี้เป็นการปิดตาข้างเดียวพูด ขอย้ำว่าประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตอาหารนะครับ เราไม่สามารถนำราคาอาหารในประเทศเราไปเปรียบเทียบกับราคาสินค้าอื่นๆ ได้ เพราะอาหารในไทยนั้น ถูกมากกกกกกกก...หากเราอยากเปรียบสินค้าใดๆ ในบ้านเราว่าถูกหรือแพงเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ขอให้ใช้สินค้าที่มีค่ามาตรฐานเหมือนกันด้วย ในญี่ปุ่นอาหารถือเป็นสินค้าที่มีราคาแพงเอาการ หรือจะเรียกว่ากลางๆ ก็ได้สำหรับเขา แต่ในบ้านเราอาหารถือว่าถูก ทั่วโลกต่างพูดว่าเมืองไทยเป็นสวรรค์เพราะของมันถูกโดยเฉพาะของกิน
เช่นหากจะเปรียบราคาการ์ตูนบ้านเราต้องยกไปเทียบกับสินค้านำเข้าที่ทั้งเรา และญี่ปุ่นนำเข้าโดยมีอัตราการเสียภาษีที่ใกล้เคียงกัน และในกรณีนี้ผมขอแนะนำ Mc Donald ผมไปมาหลายประเทศราคาแมคนั้นส่วนใหญ่ต่างกันไม่เกิน 20% ( จริงๆ เอาชัวร์ต้องเหมือนกันเลยแต่อัตราแมคก็ถือว่าใช้วัดได้คร่าวๆ )บิ๊กแมคบ้านเรานั้นอยู่ที่ 62 บาท การ์ตูนบ้านเราอยู่ที่ 45 บาท คิดเป็น 3/4 จากราคาแม็ค ในญี่ปุ่นการ์ตูนทั่วไปอยู่ที่ 390 เยน บิ๊กแมคที่ราคา 300 เยน(90 บาท) ราคาการ์ตูนอยู่ที่ 4/3....มองเห็นอะไรลางๆ ใหมครับ...
ในไต้หวันการ์ตูนอยู่ที่ 100-120 เหรียญ บื๊กแมคราวๆ 80-90(90บาท) เหรียญ คิดเป็น 4/3 เช่นกัน ในอเมริการาคาการ์ตูนอยู่ที่ราวๆ 10 US บิ๊คแม๊คอยู่ที่ 3 เหรียญ(95 บาท)!! คิดเป็น 10/3 เราจะเห็นได้ว่าราคาแม๊คทั่วโลกนั้น ใกล้กันแต่ราคาหนังสือต่างกันมากมายแต่ข้อสรุปหนึ่งคือการ์ตูนญี่ปุ่นในบ้าน เราถูกมากเมื่อเทียบกับต่างประเทศ แม้แต่เทียบกับประเทศผู้ผลิตอย่างญี่ปุ่นซึ่ง "หนังสือ" ในประเทศนี้เมื่อเทียบกับค่าครองชีพในบ้านเขาถือว่าถูก บ้านเราดันถูกกว่าอีกร่วม 40% (แม้แต่แมคในบ้านเราก็ยังถูกเพราะมันเป็นอาหาร ต่อให้ขายเท่าแมคก็ควรถือว่าถูกตาม "กลไก" ค่าครองชีพที่แท้จริงแต่การ์ตูนเรายังถูกกว่านั้นอีก) แถมยอดพิมพ์ในบ้านเราต่ำกว่าเขาหลัก 10 เท่า ตลกดีที่นิยายบ้านเรากับประเทศในเอเชียนี่ราคามัน "พอๆ กัน" แต่เราเคยชินกับว่าการ์ตูนต้องราคาต่ำเตี้ยเรี่ยดินสุดๆ ( เชื่อใหมว่าถ้าราคามันสูงมาตั้งแต่ต้นคนจะไม่บ่นกันมากขนาดนี้ ยอดพิมพ์ก็ไม่ตกลงเท่าไหร่ด้วย )ของบางอย่างมันไม่เกี่ยวกับราคา ตั๋วหนังในบ้านเราแพงขึ้น 4 เท่าใน 20 ปี แต่ยอดคนดูหนังเพิ่มขึ้นมากมาย ในขณะที่การ์ตูนบ้านเราราคาขึ้น 4 เท่าใน 20 ปี ยอดพิมพ์มีแต่ต่ำลงๆๆๆๆ อะไรหนอเป็นปัจจัย?
อะไรเป็นปัจจัยก็ช่างผมขี้เกียจถกเรื่องนี้ แต่มันเป็นข้อจำกัดที่สั่งสมกันมานานเหมือนปัญหางูกินหางไปแล้ว คนอยากได้งานการ์ตูนไทยดีๆ แต่เทียบค่าแรงกระจอกกว่าอาชีพอื่นๆ ถ้าค่าแรงแพงๆ ขายถูกก็เจ๊งซิ แต่ดันต้องไปเทียบกับ "การ์ตูนญี่ปุ่นในไทย" ที่ถูกมากและคุณภาพค่อนข้างดี....
ถ้าเอาราคาปกการ์ตูนญี่ปุ่นเป็นที่ตั้งก็ไม่ต้องคิดอะไรต่อแล้วครับ สนพ.การ์ตูนไทยรู้ดีว่ามันยากกกกขนาดไหน กลายเป็นว่าการ์ตูนไทยที่ดีซักเรื่องต้องอาศัยข้อจำกัดชนิดมหากาฬที่จะไป "ลดต้นทุน" ด้านอื่นๆแทนที่จะมาวัดกันที่งาน
ขออ้างถึงเคสคลาสสิคอันหนึ่งในบ้านเรา ที่ไม่อยากออกนามมากนัก บริษัทอนิเมชั่นที่ญี่ปุ่นไม่อนุญาตให้เราทำ DVD การ์ตูนเร็วเกินไปต้องรอไประดับหนึ่ง(พักใหญ่เลย..ทำไห้บางทีบางเรื่องต้อง ทำตอนที่กระแสเอาท์ไปแล้ว) ด้วยว่ามีคนญี่ปุ่นบินมาหิ้วแผ่นอนิเมชั่น DVD ไทยกลับไปขายในญี่ปุ่นด้วยว่าคุณภาพดีราคาถูกบรรลัย!! ตลกดีที่แฟนอนิเมญี่ปุ่นที่เป็นชาวไทยยังด่าบริษัทในไทยอยู่วันเว้นวัน เรื่องนี้อยู่เลย ผมไม่สามารถบอกชื่อบริษัทออกไปได้ด้วยเป็นเรื่องวงในแต่ก็แบบนี้แหละครับ ของไทยคนไทยดูถูกกันเอง แม้แต่ของที่อิมพอร์ตเข้ามามองราคาตามความเคยชินและความพอใจแต่ไม่ได้มองตาม ราคากลไกตลาด
จากคุณ : Aha301
------------------------------------------------------
เรื่องดัชนี BigMc เห็นทาง สนพ.เอาไว้ใช้แก้ต่างกันบ่อยๆ ครับ
แต่ผมอยากตั้งข้อสังเกตว่า
BigMc จัดเป็นอาหาร Low Grade ในต่างประเทศมากๆ มันจึงมีราคาถูก และเกรดมันเทียบเท่ากับอาหารขยะ (Junk Food) เท่านั้น ไม่มีการขายในร้านอาหารหรูๆ และบนสายการบินเอง เท่าที่ทราบ ก็ไม่เอามาเสิร์ฟกัน เพราะถือว่าดูถูกลูกค้า เว้นแต่จะทำ Surprise ก็อีกเรื่อง
พอมาประเทศไทย กลับแพงหูฉี่ เทียบกับอาหารกลางวันบ้านเรา 90 บาทนี่กินได้สามจานเลยนะครับ(ไม่ก็กินสเต๊กห้าง ได้ 1 จาน กับเครื่องดื่ม 1 แก้ว) แถมอาหารมีคุณค่าครบ 5 หมู่อีกต่างหาก เอา BigMc มาเปรียบเทียบ ผมว่ามันเหมือนหลอกต้มกันไปหน่อย
เคยดูเทศกาลอาหารไทยในเยอรมัน มาม่าผัดจานละ 300 กว่าบาท ขนาดแม้ค้าบอกว่านี่ราคาลดพิเศษเฉพาะช่วงเทศกาลเท่านั้น(ของจริงน่าจะ 400 กว่า) มันตลกไหมครับ ถ้าจะบอกว่า มาม่าผัดต่างประเทศ ซื้อการ์ตูนได้หลายเล่ม แต่มาม่าผัดเมืองไทย ซื้อการ์ตูนเล่มเดียวยังไม่ได้
เรื่อง เอาอาหารมาเป็นดัชนี้วัด มันต้องดูด้วย ครับว่าสอดคล้องกับค่าครองชีพของประเทศนั้นหรือไม่ ส้มตำไทยอยู่เมืองไทยจานละ 20 ขายเกร่อริมถนน ไปอยู่อเมริการจานละ 100-300 กว่า แถมอยู่ภัตตาคาร มีแอร์เย็นๆ, มีนางรำฟ้อนเล็บ,มวยไทยต่อยโชว์อีก แล้วมันจะเอามาเทียบกันได้ไง?
จากคุณ : จาน ชาม ช้อน ส้อม
------------------------------------------------------
1.เรื่องค่ากระดาษ ขอแสดงความเสียใจด้วย ค่ากระดาษตอนนี้ ขึ้เนมาแล้วครับผม ไม่นานจากนี้ (ไม่เกิน 6 เดือน) มีการขยับราคาแน่ๆ ครับ กระทู้นี้เป็นกระทู้ "ดัก ทางได้ถูกต้อง กลายๆ แล้วครับ
2.ดัชนี Mc ใช้ได้ เฉพาะในทศวรรษ 1990s เท่านั้น หลีงจากนั้น ทฤษฎีดู "ไม่เข้าท่า" แล้วครับ ใช้ ทฤษฎี "สตาร์บัคส์" ดีกว่า แก้วเดียว ราคาใกล้เคียงกันทั่วโลก
จากคุณ : c5;q ouh
เขียนเมื่อ : 31 ส.ค. 53 20:56:50 A:58.11.15.179 X: TicketID:282424
------------------------------------------------------
น่าสนใจครับ พอดีผมไม่ได้เขียนจากการไปอ่านมาแต่เขียนจากประสบการณ์ ครั้งหน้าผมต้องลองตั้งข้อสังเกตจากสตาร์บัคดูบ้าง
อืม...คุณ จาน ชาม ช้อน ส้อม ครับผมไม่ได้เอาดัชนี MC มาตั้งเพื่อเทียบค่าครองชีพนะครับ บ้านเราน่ะค่าครองชีพ "ต่ำ" แน่นอนอยู่แล้ว แต่สำหรับเราที่เป็นประเทศผู้ผลิตอาหารจึงสามารถทำดรรชนีที่เกี่ยวกับอาหาร ได้ "ถูกกว่าประเทศอื่นๆ" ไม่ได้เกี่ยวกับ เกรดของอาหารครับ อย่างที่ยกตัวอย่างไปว่าต่อให้เป็น MC ในบ้านเราก็ยังทำราคาได้ถูกหรือใกล้เคียงกับค่าครองชีพมาตรฐานประเทศนั้นๆ
ใน ไต้หวันค่าเฉลี่ยค่าครองชีพไม่แตกต่างกับบ้านเรามากนัก อยู่ราวๆ 1.5-2 เท่านั้น(ขอเทียบกับกรุงเทพฯ นะครับไม่งั้นรับรองว่ายาว) แต่ราคาการ์ตูนญี่ปุ่นห่างกันราวๆ 3 เท่าครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในใต้หวันการ์ตูนบูมมากๆ ถึงขนาดคาโดคาว่าไปเปิดสาขาที่นั่นโดยตรง) ยอดขายสูงและน่าจะเอื้อต่อการทำราคาได้ถูกกว่าประเทศเราแต่ก็ยังแพงกว่าของ เราที่เทียบตามค่าครองชีพอยู่ดี
(แต่ตลกดีครับ นิยายหรือหนังสือในหมวดอื่นๆ เช่นนิยายหรือพ็อคเก็ตบุ๊คราคาขายในไทยกับไต้หวัน มาเลเซีย นั้นใกล้เคียงกันมาก ซึ่งในประเทศดังกล่าวที่ผมยกตัวอย่างมา ราคาการ์ตูนกับพอคเก็ตบุ๊คนั้นใกล้เคียงกันครับ แต่บ้านเราต่างกันราวๆ 3 เท่า ทั้งๆ ที่ค่าลิขสิทธิ์ของนิยายและการ์ตูนนั้นก็ใกล้เคียงกัน)
จากคุณ : Aha301
------------------------------------------------------
http://www.pantip.com/cafe/chalermthai/ ... 33486.html
แก้ไขล่าสุดโดย Zeon เมื่อ พฤหัสฯ. 02 ก.ย. 2010 7:09 pm, แก้ไขไปแล้ว 1 ครั้ง.
Re: [News] สนพ.การ์ตูนลิขสิทธิ์ในไทย และความเคลื่อนไหวในวงกา
^
^
^
ยาวจนขี้เกียจอ่านเลยทีเดียว - -"
^
^
ยาวจนขี้เกียจอ่านเลยทีเดียว - -"

Re: [News] สนพ.การ์ตูนลิขสิทธิ์ในไทย และความเคลื่อนไหวในวงกา
เห็นฟรอกแมนแล้วอยากอ่านเร็วแล้วอ่า ชอบลายเส้นจริงๆ ให้ดิ้นตาย
น่ารักทุกคนเลย
พรุ่งนี้ บ้านพักแห่งเสียงคนชรา เล่ม 8 ออกนะครับ
ว่าแต่ใครก็ได้ บอกผมทีว่ามันเริ่มงี่เง่า ตั้งแต่ตอนอะไรจะได้ เตรียมอารมณ์อ่านถูก
น่ารักทุกคนเลย
พรุ่งนี้ บ้านพักแห่งเสียงคนชรา เล่ม 8 ออกนะครับ
ว่าแต่ใครก็ได้ บอกผมทีว่ามันเริ่มงี่เง่า ตั้งแต่ตอนอะไรจะได้ เตรียมอารมณ์อ่านถูก
H?agen-Dazs?
Re: [News] สนพ.การ์ตูนลิขสิทธิ์ในไทย และความเคลื่อนไหวในวงกา
Luckpim ข่าวอัพเดท
1. ไลท์โนเวล MM!เล่ม 4 - คาดว่าจะออกทันงานหนังสือเดือน ต.ค. 2553
2. ไลท์โนเวล Zero no Tsukaima เล่ม 4 - คาดว่าจะออกทันงานหนังสือเดือน ต.ค. 2553
3. ไลท์โนเวล Zero no Tsukaima เล่ม 5 - ยังไม่แน่ว่าจะออกทันงานหนังสือเดือน ต.ค. 2553 (รอลุ้นต่อไป)
4. ไลท์โนเวล Kampfer เล่ม 4 - ยังไม่แน่ว่าจะออกทันงานหนังสือเดือน ต.ค. 2553 (รอลุ้นต่อไป)
5. MM! เล่ม 3 - กำลังรอต้นฉบับอยู่
6. D-Flag เล่ม 2 - คาดว่าจะออกเดือน ก.ย. 2553
7. แก๊งอลวน ศึกอลเวง เล่ม 5 - ยังไม่มีกำหนดออก (เล่ม 4 ออกมาเมื่อ 17/4/2009 หายไปปีกว่าแล้ว - -")
8. THE NEXT SHEET of MAPS เล่ม 5 - คาดว่าจะออกเดือน ก.ย. 2553
*********************************
ฺBRP ข่าวอัพเดท
"มินามิเกะ สามสาวซ่าฮายกแก๊ง Minami-ke เล่ม 2" ออกมาอย่างไว 10 ก.ย. 2553 นี้

BRP จะเซ็นเวอร์เยอะแยะแบบเล่ม 1 มั๊ยนั่น = ="
*********************************
การ์ตูนของ sichol=bel (นักวาดการ์ตูนไทยที่ไปเดบิวต์ที่ญี่ปุ่น) มีให้อ่านออนไลน์แล้ว!!!
http://www.pantip.com/cafe/chalermthai/ ... 46407.html
1. ไลท์โนเวล MM!เล่ม 4 - คาดว่าจะออกทันงานหนังสือเดือน ต.ค. 2553
2. ไลท์โนเวล Zero no Tsukaima เล่ม 4 - คาดว่าจะออกทันงานหนังสือเดือน ต.ค. 2553
3. ไลท์โนเวล Zero no Tsukaima เล่ม 5 - ยังไม่แน่ว่าจะออกทันงานหนังสือเดือน ต.ค. 2553 (รอลุ้นต่อไป)
4. ไลท์โนเวล Kampfer เล่ม 4 - ยังไม่แน่ว่าจะออกทันงานหนังสือเดือน ต.ค. 2553 (รอลุ้นต่อไป)
5. MM! เล่ม 3 - กำลังรอต้นฉบับอยู่
6. D-Flag เล่ม 2 - คาดว่าจะออกเดือน ก.ย. 2553
7. แก๊งอลวน ศึกอลเวง เล่ม 5 - ยังไม่มีกำหนดออก (เล่ม 4 ออกมาเมื่อ 17/4/2009 หายไปปีกว่าแล้ว - -")
8. THE NEXT SHEET of MAPS เล่ม 5 - คาดว่าจะออกเดือน ก.ย. 2553
*********************************
ฺBRP ข่าวอัพเดท
"มินามิเกะ สามสาวซ่าฮายกแก๊ง Minami-ke เล่ม 2" ออกมาอย่างไว 10 ก.ย. 2553 นี้

BRP จะเซ็นเวอร์เยอะแยะแบบเล่ม 1 มั๊ยนั่น = ="
*********************************
การ์ตูนของ sichol=bel (นักวาดการ์ตูนไทยที่ไปเดบิวต์ที่ญี่ปุ่น) มีให้อ่านออนไลน์แล้ว!!!
http://www.pantip.com/cafe/chalermthai/ ... 46407.html
Re: [News] สนพ.การ์ตูนลิขสิทธิ์ในไทย และความเคลื่อนไหวในวงกา
สรุป
1 สำนักพิมพ์ก็จะยังคงหาทางขึ้นราคาต่อไป ช่วยอะไรไม่ได้
2 เป็นความผิดของผู้บริโภคเอง ที่ไม่รู้จักพัฒนาตัวเอง เพิ่มรายได้มาจับจ่ายซื้อของ
3 เทียบดัชนี่ค่าอาหารมาเทียบกับราคาการ์ตูน แต่ดันไม่ดูว่า ที่ญี่ปุ่นรายได้ขั้นต่ำมันเท่าไหร่ เงินเดือนมันเท่าไหร่ และที่ไทยเท่าไหร่
4 เป็นความผิดของผู้บริโภคในไทย ที่ไม่ช่วยกันซื้อเยอะๆ ทำให้ยอดพิมพ์ต่ำ ราคาต่อหน่วยเลยแพง
5 สำนักพิมพ์คือผู้ที่มีพระคุณต่อผู้บริโภค เพราะกำไรต่อหน่วยน้อยมาก และยังกัดฟันสู้ต่อไป ผู้บริโภคห้ามบ่น
6 คนส่วนใหญ่บอกว่าผู้บริโภคการ์ตูนส่วนใหญ่คือเด็ก แต่ดันเอาราคาไปเทียบกับนิยายที่เด็กไม่ค่อยอ่าน มันเลยดูราคาถูก
7 ไม่มีหนทางอะไรที่จะแก้ไขเรื่องราคาการ์ตูนได้ เพราะสำนักพิมพ์ทำอะไรไม่ได้
8 พวก DVD อนิเมในบ้านเรา ที่คนไทยส่ายหน้า คนญี่ปุ่นเห็นว่าเป็นของคุณภาพดีและราคาถูก (ไม่ค่อยจะอยากเชื่อเลย)
9 วันพีซมียอดขายแค่หลักหมื่นเล่ม (แต่ทำไมโคนันที่น่าจะดังน้อยกว่ายอดขายที่หลักแสนเล่ม)
10 สำนักพิมพ์ไม่คิดจะลดราคาแน่ๆ เพราะมั่นใจว่าต่อให้ลดราคาลง ยอดขายมันก็ไม่เพิ่ม
11 อย่าหวังเรื่องราคาการ์ตูนลิขสิทธิ์จะถูกลงเหมือน CD - DVD
12 เตรียมรอรับการขึ้นราคาครั้งต่อไปได้ อีกไม่นานเกินรอ
1 สำนักพิมพ์ก็จะยังคงหาทางขึ้นราคาต่อไป ช่วยอะไรไม่ได้
2 เป็นความผิดของผู้บริโภคเอง ที่ไม่รู้จักพัฒนาตัวเอง เพิ่มรายได้มาจับจ่ายซื้อของ
3 เทียบดัชนี่ค่าอาหารมาเทียบกับราคาการ์ตูน แต่ดันไม่ดูว่า ที่ญี่ปุ่นรายได้ขั้นต่ำมันเท่าไหร่ เงินเดือนมันเท่าไหร่ และที่ไทยเท่าไหร่
4 เป็นความผิดของผู้บริโภคในไทย ที่ไม่ช่วยกันซื้อเยอะๆ ทำให้ยอดพิมพ์ต่ำ ราคาต่อหน่วยเลยแพง
5 สำนักพิมพ์คือผู้ที่มีพระคุณต่อผู้บริโภค เพราะกำไรต่อหน่วยน้อยมาก และยังกัดฟันสู้ต่อไป ผู้บริโภคห้ามบ่น
6 คนส่วนใหญ่บอกว่าผู้บริโภคการ์ตูนส่วนใหญ่คือเด็ก แต่ดันเอาราคาไปเทียบกับนิยายที่เด็กไม่ค่อยอ่าน มันเลยดูราคาถูก
7 ไม่มีหนทางอะไรที่จะแก้ไขเรื่องราคาการ์ตูนได้ เพราะสำนักพิมพ์ทำอะไรไม่ได้
8 พวก DVD อนิเมในบ้านเรา ที่คนไทยส่ายหน้า คนญี่ปุ่นเห็นว่าเป็นของคุณภาพดีและราคาถูก (ไม่ค่อยจะอยากเชื่อเลย)
9 วันพีซมียอดขายแค่หลักหมื่นเล่ม (แต่ทำไมโคนันที่น่าจะดังน้อยกว่ายอดขายที่หลักแสนเล่ม)
10 สำนักพิมพ์ไม่คิดจะลดราคาแน่ๆ เพราะมั่นใจว่าต่อให้ลดราคาลง ยอดขายมันก็ไม่เพิ่ม
11 อย่าหวังเรื่องราคาการ์ตูนลิขสิทธิ์จะถูกลงเหมือน CD - DVD
12 เตรียมรอรับการขึ้นราคาครั้งต่อไปได้ อีกไม่นานเกินรอ
แก้ไขล่าสุดโดย shield เมื่อ พฤหัสฯ. 02 ก.ย. 2010 8:00 pm, แก้ไขไปแล้ว 2 ครั้ง.
Re: [News] สนพ.การ์ตูนลิขสิทธิ์ในไทย และความเคลื่อนไหวในวงกา
"มินามิเกะ สามสาวซ่าฮายกแก๊ง Minami-ke เล่ม 2" โอว ฮารุกะเน่ซามะ
ปล.จริงๆน่าจะให้จิอากิเรียกตามต้นฉบับนะครับ เห็นความต่างเลยทีเดียว พอเรียกระดับเดียวกันแล้วไม่ฮาเลย
ปล.จริงๆน่าจะให้จิอากิเรียกตามต้นฉบับนะครับ เห็นความต่างเลยทีเดียว พอเรียกระดับเดียวกันแล้วไม่ฮาเลย
Re: [News] สนพ.การ์ตูนลิขสิทธิ์ในไทย และความเคลื่อนไหวในวงกา
บ้านพักแห่งเสียงคนชรา เล่ม 8-----------------บ้านของเสียงหัวใจรึเปล่า ทำไมตั้งชื่อยังงั้นละครับ นึกไม่ออกว่าหมายถึงอะไร
ไม่รู้เพราะอะไร พอผมพิมพ์คำตามรูป มันก็ไม่สามารถโพสต์ได้เลย ใครลองลองดูหน่อยสิครับ
ไม่รู้เพราะอะไร พอผมพิมพ์คำตามรูป มันก็ไม่สามารถโพสต์ได้เลย ใครลองลองดูหน่อยสิครับ
- แนบไฟล์
-
- Clip_60.jpg (2.3 KiB) Viewed 3552 times
Re: [News] สนพ.การ์ตูนลิขสิทธิ์ในไทย และความเคลื่อนไหวในวงกา
ู^
^
พิมพ์แล้วโพสไม่ได้เหมือนกันแฮะ
*******************************
Deka Wanko น้องหมายอดนักสืบ (ลิขสิทธิ์ในไทย ของ บงกช) ประกาศทำเป็นละครทีวีแล้ว
งานใหม่ของ Kozueko Morimoto ที่มีงานเก่าอย่าง Gokusen ครูสาวยากูซ่า (ลิขสิทธิ์ในไทยก็ของ บงกช เช่นกัน)

กรมตำรวจ หน่วยสืบสวนที่ 1 แผนกทีมสืบสวนอาชญากรรมที่ 6 เป็นทีมที่มีประสิทธิผลสูงสุด
แต่ปัญหาท่วมไม่แพ้กัน และทีมนี้ได้นักสืบใหม่เป็นสาวแบ๊วสุดเอ๋อ!! "ฮานาโมริ อิจิโกะ" ได้รับฉายาว่า "วันโกะ"
มีประสาทรับรู้กลิ่นที่ไม่ต่างกับสุนัข เธอมาเพื่อช่วยยกระดับการทำงานกวาดล้างอาชญากรรมให้สิ้น!! (...แน่เหรอ)
Deka Wanko น้องหมายอดนักสืบ ฉบับลิขสิทธิ์ในไทย ของบงกช มีกำหนดออกในเดือน ก.ย. 2553 นี้
++ Gokusen ฉบับละครทีวีซีซั่นแรกก็สนุกนะ พอซีซั่น 2 ตัดบทพระเอกทิ้งไปซะงั้น
นางเอก (Yukie Nakama) สวยอยู่แล้ว แต่กับบทคุณครูหลานยากูซ่า ดูๆไปก็ขัดๆกับความแกร่งอยู่บ้างเหมือนกัน
ที่มา http://www.tokyograph.com/news/utm_sour ... yograph%29
*******************************
อย่างเร็วก็ในไตรมาสแรกของปี 2554 ได้เห็นการ์ตูนที่จำนวนหน้าไม่เกิน 180 หน้า ราคา 50 บาทแน่ (NED ไม่ก็ VBK ล่ะนะ)
^
พิมพ์แล้วโพสไม่ได้เหมือนกันแฮะ
*******************************
Deka Wanko น้องหมายอดนักสืบ (ลิขสิทธิ์ในไทย ของ บงกช) ประกาศทำเป็นละครทีวีแล้ว
งานใหม่ของ Kozueko Morimoto ที่มีงานเก่าอย่าง Gokusen ครูสาวยากูซ่า (ลิขสิทธิ์ในไทยก็ของ บงกช เช่นกัน)

กรมตำรวจ หน่วยสืบสวนที่ 1 แผนกทีมสืบสวนอาชญากรรมที่ 6 เป็นทีมที่มีประสิทธิผลสูงสุด
แต่ปัญหาท่วมไม่แพ้กัน และทีมนี้ได้นักสืบใหม่เป็นสาวแบ๊วสุดเอ๋อ!! "ฮานาโมริ อิจิโกะ" ได้รับฉายาว่า "วันโกะ"
มีประสาทรับรู้กลิ่นที่ไม่ต่างกับสุนัข เธอมาเพื่อช่วยยกระดับการทำงานกวาดล้างอาชญากรรมให้สิ้น!! (...แน่เหรอ)
Deka Wanko น้องหมายอดนักสืบ ฉบับลิขสิทธิ์ในไทย ของบงกช มีกำหนดออกในเดือน ก.ย. 2553 นี้
++ Gokusen ฉบับละครทีวีซีซั่นแรกก็สนุกนะ พอซีซั่น 2 ตัดบทพระเอกทิ้งไปซะงั้น
นางเอก (Yukie Nakama) สวยอยู่แล้ว แต่กับบทคุณครูหลานยากูซ่า ดูๆไปก็ขัดๆกับความแกร่งอยู่บ้างเหมือนกัน
ที่มา http://www.tokyograph.com/news/utm_sour ... yograph%29
*******************************
นั่นสินะ เรื่องนี้คนแปลครูสิ้นหวังแปลซะด้วย รับงานแปล VBK ก็เยอะ SIC ก็ด้วย[Vee] เขียน:"มินามิเกะ สามสาวซ่าฮายกแก๊ง Minami-ke เล่ม 2" โอว ฮารุกะเน่ซามะ
ปล.จริงๆน่าจะให้จิอากิเรียกตามต้นฉบับนะครับ เห็นความต่างเลยทีเดียว พอเรียกระดับเดียวกันแล้วไม่ฮาเลย
ขึ้นราคาแน่นอนอีกไม่นานshield เขียน: 12 เตรียมรอรับการขึ้นราคาครั้งต่อไปได้ อีกไม่นานเกินรอ
อย่างเร็วก็ในไตรมาสแรกของปี 2554 ได้เห็นการ์ตูนที่จำนวนหน้าไม่เกิน 180 หน้า ราคา 50 บาทแน่ (NED ไม่ก็ VBK ล่ะนะ)
แก้ไขล่าสุดโดย Zeon เมื่อ พฤหัสฯ. 02 ก.ย. 2010 9:00 pm, แก้ไขไปแล้ว 2 ครั้ง.